สื่อที่ใช้ในการนำเสนอผลงานวิชาการ
สื่อที่ใช้ในการนำเสนอผลงานทางวิชาการมีอยู่ 2 ประเภทหลักๆ คือ
1. สื่อนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ (PowerPoint slides)
ขั้นตอนการผลิต:
• ศึกษาเนื้อหาเรื่องที่จะผลิต
• กำหนดหัวข้อและประเด็นย่อยๆ
• สร้างบทหรือสตอรี่บอร์ดหยาบๆ ลงบนกระดาษ
• ตัวอักษร ภาพ เสียงประกอบ
• ออกแบบ ภาพ ตัวอักษร เรื่องตามที่ได้ออกแบบ
หลักการออกแบบหน้าจอภาพ:
• ความเรียบง่าย: ใช้สีอ่อนเป็นพื้นหลัง + ใช้พื้นหลังตามลักษณะเนื้อหา
• ความคงตัว: ใช้รูปแบบสไลด์เดียวกันทุกแผ่นที่เกี่ยวกับเนื้อหานั้น
ถ้าต้องการเน้นจุดสำคัญ = ใช้สีตัวอักษรให้แตกต่าง หรือ เปลี่ยนสีพื้นหลังให้แตกต่างจากเนื้อหา
• ความสมดุล: สไลด์ทุกแผ่นควรมีความสมดุล
• มีแนวคิดเดียวในสไลด์แต่ละแผ่น
• ความกลมกลืน:
ใช้แบบอักษรและภาพกราฟิกให้เหมาะสมกับลักษณะของเนื้อหา
ใช้แบบอักษรที่อ่านง่าย ใช้สีที่ดูแล้วสบายตา
เลือกภาพกราฟิกที่ไม่ซับซ้อน ถูกต้องตรงตามเนื้อหา
• จำนวนสไลด์/เนื้อหา: ควรเหมาะสมกับเวลาในการนำเสนอ
• แบบอักษร: ไม่ควรใช้อักษรมากกว่า 2 แบบ ในสไลด์เรื่องหนึ่ง
• เนื้อหาและจุดนำข้อความ:
ข้อความในสไลด์ - เสนอเฉพาะหัวข้อหรือเนื้อหาสำคัญ
- ไม่เสนอรายละเอียดของเนื้อหา
นำเสนอเป็นย่อหน้า โดยมีจุดนำข้อความอยู่ข้างหน้า
ไม่ควรมีจุดนำข้อความมากกว่า 4 จุดในสไลด์แผ่นหนึ่ง
• เลือกใช้กราฟิกที่เหมาะสม ไม่มากเกินไป
• ความคมชัดของภาพ:
ไม่จำเป็นต้องใช้ภาพที่มีความคมชัดสูงมาก
ใช้ภาพในรูปแบบ JPEG ขนาดประมาณ 20-50 KB
ควรมีการบีบอัดและลดขนาดภาพก่อนใส่ภาพ
• การเลือกต้นแบบสไลด์และแบบอักษร:
ต้องเหมาะสมกับอุปกรณ์ร่วม: เครื่อง LCD, TV
ก่อนการนำเสนอ ควรทำการทดลองก่อน
ข้อควรระวังในการออกแบบ:
- สื่อนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ (PowerPoint slides)
- โปสเตอร์นำเสนอทางวิชาการ
1. สื่อนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ (PowerPoint slides)
ขั้นตอนการผลิต:
• ศึกษาเนื้อหาเรื่องที่จะผลิต
• กำหนดหัวข้อและประเด็นย่อยๆ
• สร้างบทหรือสตอรี่บอร์ดหยาบๆ ลงบนกระดาษ
• ตัวอักษร ภาพ เสียงประกอบ
• ออกแบบ ภาพ ตัวอักษร เรื่องตามที่ได้ออกแบบ
หลักการออกแบบหน้าจอภาพ:
• ความเรียบง่าย: ใช้สีอ่อนเป็นพื้นหลัง + ใช้พื้นหลังตามลักษณะเนื้อหา
• ความคงตัว: ใช้รูปแบบสไลด์เดียวกันทุกแผ่นที่เกี่ยวกับเนื้อหานั้น
ถ้าต้องการเน้นจุดสำคัญ = ใช้สีตัวอักษรให้แตกต่าง หรือ เปลี่ยนสีพื้นหลังให้แตกต่างจากเนื้อหา
• ความสมดุล: สไลด์ทุกแผ่นควรมีความสมดุล
• มีแนวคิดเดียวในสไลด์แต่ละแผ่น
• ความกลมกลืน:
ใช้แบบอักษรและภาพกราฟิกให้เหมาะสมกับลักษณะของเนื้อหา
ใช้แบบอักษรที่อ่านง่าย ใช้สีที่ดูแล้วสบายตา
เลือกภาพกราฟิกที่ไม่ซับซ้อน ถูกต้องตรงตามเนื้อหา
• จำนวนสไลด์/เนื้อหา: ควรเหมาะสมกับเวลาในการนำเสนอ
• แบบอักษร: ไม่ควรใช้อักษรมากกว่า 2 แบบ ในสไลด์เรื่องหนึ่ง
• เนื้อหาและจุดนำข้อความ:
ข้อความในสไลด์ - เสนอเฉพาะหัวข้อหรือเนื้อหาสำคัญ
- ไม่เสนอรายละเอียดของเนื้อหา
นำเสนอเป็นย่อหน้า โดยมีจุดนำข้อความอยู่ข้างหน้า
ไม่ควรมีจุดนำข้อความมากกว่า 4 จุดในสไลด์แผ่นหนึ่ง
• เลือกใช้กราฟิกที่เหมาะสม ไม่มากเกินไป
• ความคมชัดของภาพ:
ไม่จำเป็นต้องใช้ภาพที่มีความคมชัดสูงมาก
ใช้ภาพในรูปแบบ JPEG ขนาดประมาณ 20-50 KB
ควรมีการบีบอัดและลดขนาดภาพก่อนใส่ภาพ
• การเลือกต้นแบบสไลด์และแบบอักษร:
ต้องเหมาะสมกับอุปกรณ์ร่วม: เครื่อง LCD, TV
ก่อนการนำเสนอ ควรทำการทดลองก่อน
ข้อควรระวังในการออกแบบ:
2. โปสเตอร์นำเสนอทางวิชาการ
การเตรียมการก่อนการออกแบบ:
องค์ประกอบและการจัดวางองค์ประกอบ:
1. ชื่อเรื่องและชื่อผู้วิจัย
ชื่อเรื่อง
ใส่เฉพาะเอกสารหลักๆ ที่ใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง
หลักการการออกแบบโปสเตอร์งานวิจัย:
การเตรียมการก่อนการออกแบบ:
- กำหนดขนาดและรูปแบบ: คำนึงถึงความประหยัด + ต้นทุนการผลิต
- รูปแบบของภาพประกอบในโพสเตอร์: คำนึงถึงความเหมาะสมในการนำเสนอความคิดที่ต้องการสื่อ + ระบบการพิมพ์ที่เลือกใช้
องค์ประกอบและการจัดวางองค์ประกอบ:
1. ชื่อเรื่องและชื่อผู้วิจัย
ชื่อเรื่อง
- สั้น กระชับ สื่อให้ตรงประเด็น
- หากมีชื่อเรื่อง 2 ภาษา ควรมีความหมายที่ตรงกัน
- จัดให้อยู่ใกล้ชื่อเรื่อง
- ระบุตำแหน่ง และหน่วยงานที่สังกัด
- มีขนาดใหญ่ไม่น้อยกว่า 1 นิ้ว
- ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ใช้อักษรตัวใหญ่และเล็กผสมกัน ไม่ควรใช้อักษรตัวใหญ่ทั้งหมด
- เข้าถึงเนื้อหาได้อย่างตรงประเด็น ชัดเจน และกะทัดรัด
- ไม่ควรลอกบทคัดย่อทั้งหมดมาใส่ไว้ในโปสเตอร์
- ไม่ควรนำชื่อเรื่องมาใส่ซ้ำ
- ระบุถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทำวิจัย
- ที่มาของปัญหา หรือเหตุผลของการทำวิจัย
- เขียนให้กระชับที่สุด
- ไม่จำเป็นต้องอ้างถึงแหล่งที่มา
- ควรแบ่งเป็นข้อ เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย
- อาจใช้เป็นวลีสั้นๆ ที่อ่านแล้ว เข้าใจได้ทันที
- หลักการ กรอบทฤษฎี
- กระบวนการวิจัย: ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ เครื่องมือที่ใช้ วิธีดำเนินการวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ผล
- เสนอข้อมูลที่ค้นพบที่โดดเด่นที่สุด
- ตอบคำถามงานวิจัยได้ตรงที่สุด
- กล่าวถึงสิ่งที่ค้นพบซึ่งต้องสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์
- นำเสนอถึงประโยชน์ที่ได้ว่านำไปใช้ประโยชน์หรือนำไปต่อยอดได้
ใส่เฉพาะเอกสารหลักๆ ที่ใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง
หลักการการออกแบบโปสเตอร์งานวิจัย:
ข้อควรพิจารณา:
ที่มา: สื่อการสอนของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หัวข้อ สื่อที่ใช้ในการนำเสนอผลงานวิชาการ โดย รศ. ดร. มณฑิชา พุทซาคำ